การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ มีหลักการคร่าว ๆ ดังนี้
1.
ให้ยาต้านไวรัส เพื่อลดจำนวนของเชื้อเอชไอวี ซึ่งจะช่วยลดการทำลายระบบภูมิคุ้มกัน ช่วยให้ยืด อายุผู้ป่วยและมีสุขภาพที่ดีขึ้น แพทย์จะพิจารณาให้ยาต้านไวรัสในกรณี ดังนี้
 (1)
เมื่อมีอากาแสดง                                                                        
    (2)
เมื่อยังไม่มีอาการแสดง แต่ตรวจเลือดพบว่ามีค่า CD4 ต่ำกว่า 500 
         
เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร (CD4 มีค่าปกติ 600-1200, ค่า
CD4   
        
บ่งบอกถึงระดับความแข็งแรงของระบบภูมิคุ้มกัน มีค่ายิ่งต่ำระบบ

        
ภูมิคุ้มกันก็ยิ่งอ่อนแอ และยิ่งเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนมากขึ้น)
    (3)
เมื่อยังไม่มีอาการแสดง และค่า CD4 มากกว่า 500 เซลล์ต่อลูกบาศก์                                       
        
มิลลิเมตร แต่มีประมาณ เชื้อเอชไอวี (viral load) มากกว่า 30,000 ตัว
        
ต่อมิลลิลิตร

  • ในปัจจุบันมียาต้านไวรัสที่นิยมเลือกใช้อยู่ 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มที่
  • 1 Nucleoside analogues RTIs (reverse transcriptase 
    inhibitors)
    เช่น

    – Zidovudine (AZT)
    – Didanosine (ddI)                                                               
    – Zalcitabine (ddC)                                                                                                                 
    – Stavudine (d4T)
    – Lamivudin(3TC)                                                                                                              
  • กลุ่มที่ 2 NNRTIs (non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors) เช่น
    – Delavirdine
    – Loviride
    – Nevirapine
  • กลุ่มที่ 3 Protease inhibitors (PIs) เช่น
    – Nelfinavir
    – Indinavir
    – Ritonavir
    – Saquinavir

 ข. ให้การรักษาโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ในที่นี้ขอยกตัวอย่าง โรคติดเชื้อฉวยโอกาส
ที่พบบ่อยใน บ้านเรา เช่น
1)
วัณโรค ให้ยารักษาวัณโรค
2)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ   จากเชื้อราคริปโตค็อกคัส (Cryptococcal
     meningitis)
ให้ยาฆ่าเชื้อรา – แอมโฟเทอริซินบี
(Amphotericin B) 
     0.3-0.6
มก. ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. ต่อวัน หยดเข้าหลอด เลือดดำช้า ๆ
 
   
นาน 6-8 สัปดาห์ เมื่อรักษาขั้นต้นจนหายแล้ว ควรให้ยานี้ขนาด
 
    50-100
มก. ฉีด สัปดาห์ละครั้ง หรือให้กินฟลูโคนาโซน
(Fluconazole) 
    100 – 200
มก.ต่อวัน ไปตลอดชีวิต เพื่อ ป้องกันการกำเริบซ้ำ

3)
ปอดอักเสบ จากเชื้อโปรโตซัว-นิวโมซิสติสคาริไน (Pneumocystis 
    carinii pneumonia
หรือ PCP) ให้ยาต้านจุลชีพโคไตรม็อกซาโซล
  
   
กินหรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ในขนาด 15 มก. ต่อ น้ำหนักตัว 1 กก. ต่อ

   
วัน ของไตรเมโทพริมแบ่งให้วันละ 4 ครั้ง หรือ ให้เพนทาไมดีน   
    (Pentamidine)
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำในขนาด 4 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก.

   
ต่อวัน หรือ ให้ไตรเมโทพริม กินในขนาด 15 มก.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. 
   
ร่วมกับแดปโซน (Dapsone) กินในขนาด 100 มก. ต่อวัน โดยให้ยาชนิด

   
ใดชนิดหนึ่งนาน 14-21 วัน เมื่อหายแล้ว ควรกินยาป้องกันการกำเริบซ้ำ    
   
โดยให้โคไตรม็อกซาโซลวันละ 2 เม็ด 3 วัน ต่อสัปดาห์ หรือแดปโซน
50
    -100
มก.ทุกวัน

 

 

 

 

 

 


0 Responses to “การรักษาโรคเอดส์”



  1. ให้ความเห็น

ใส่ความเห็น




เมษายน 2024
จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา.
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
2930  

ความเห็นล่าสุด